Saturday, November 16, 2013

Thaibikehouse.com ศูนย์รวมข้อมูลจักรยาน ข่าวสาร ข่าวประชาสัมพันธ์

Thaibikehouse.com ศูนย์รวมข้อมูลจักรยาน ข่าวสาร ข่าวประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับ "จักรยาน" พูดคุยเรื่องทั่วไปในแวดวงจักรยาน วงการนักปั่นจักรยาน สื่อกลางลงประกาศ ซื้อ-ขาย จักรยานใหม่ จักรยานมือสอง อะไหล่พร้อมอุปกรณ์ชั้นนำทั่วประเทศ.

จักรยาน ส่วนใหญ่หมายถึงจักรยานสองล้อ ทั่วไปหมายถึงเครื่องจักรกลชนิดเฟืองส่งกำลัง ที่ทำขึ้นเป็นยานพาหนะ จักรยานมีประวัติความเป็นมายาวนานเช่นเดียวกับเครื่องจักรกลที่บังคับด้วยคน ประเภทต่างๆ จักรยานเป็นยานพาหนะกลไกขับเคลื่อนชนิดเดียวที่ได้ชื่อว่า เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด.

เว็บไซต์ : http://www.thaibikehouse.com/

ประเภทของจักรยาน

  • จักรยานเสือหมอบ (Road Bike)
  • จักรยานเสือภูเขา (Mountain Bike)
  • จักรยานทัวริ่ง (Touring Bike)
  • จักรยานไฮบริด (Hybrid)
  • จักรยานฟิกซ์เกียร์ (Fixed Gear)
  • จักรยานพับ (Folding Bike)
  • จักรยานมินิ (Mini)
  • จักรยานแม่บ้าน
  • จักรยานบีเอ็มเอกซ์ (BMX)
  • จักรยานเด็ก
ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง :

บริษัททัวร์ | สถานที่ท่องเที่ยว ในประเทศไทย | ทัวร์ปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน | ทัวร์เชียงคาน จังหวัดเลย | ไหว้พระ 9 วัด ในประเทศไทย | แพ็คเกจทัวร์ในประเทศไทย

Friday, November 8, 2013

แพ็คเกจทัวร์วังน้ำเขียว นครราชสีมา 2 วัน 1 คืน

แพ็คเกจทัวร์วังน้ำเขียว นครราชสีมา 2 วัน 1 คืน

โปรแกรมทัวร์วังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา กิจกรรมสันทนาการ เล่นเกมส์ กิจกรรมวอล์ค แรลลี่ (Walk Rally) สร้างความสามัคคีในองค์กร และความสุขในการทำงาน ท่องเที่ยว Village Farm Winery ไร่องุ่นสไตล์ฝรั่งเศษ เที่ยวชมสวนผักปลอดสารพิษ / ไม้ดอกไม้ประดับ วังน้ำเขียว / การเพาะเห็ดหอม ฟลอร่า พาร์ค (Flora Park Wangnamkeaw) วังน้ำเขียว ชมไม้ดอก ไม้ประดับนานาพันธุ์ ร้านกาแฟ a cup of love วังน้ำเขียว เป็นต้น

รายละเอียดเพิ่มเติม : http://goo.gl/RswjTx

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
แฟมิลี่ ออน ทัวร์ : Family on Tour
โทรศัพท์มือถือ DTAC : 08-1567-1332 เลขที่ใบอนุญาต 23/02090
เว็บไซต์ : www.fmlot.com แฟนเพจ : www.facebook.com/familyontour

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (Wat Phra Si Rattana Satsadaram)

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (Wat Phra Si Rattana Satsadaram or Temple of the Emerald Buddha) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า วัดพระแก้ว (Wat Phra Kaew) เป็นวัดที่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2325 เป็นวัดในพระบรมมหาราชวัง เช่นเดียวกับ วัดพระศรีสรรเพชญ์ ซึ่งเป็นวัดในพระราชวังหลวงในสมัยอยุธยา และมีพระราชประสงค์ให้วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือพระแก้วมรกต ที่นำมาจากกรุงเวียงจันทร์ แต่แท้ที่จริงแล้ว พบเจอวัดพระแก้ว จังหวัดเชียงราย และเป็นสถานที่ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นวัดที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษาอยู่ เพราะมีแต่ส่วนพุทธาวาสไม่มีส่วนสังฆาวาส

วัดพระศรีรัตนศาสดารามได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์มาโดยตลอด การบูรณะครั้งใหญ่ทั้งพระอาราม มีขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้มีการเฉลิมฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 100 ปี ใน พ.ศ. 2425 ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ทั้งพระอารามในโอกาสที่มีพระราชพิธีฉลองพระนครครบ 150 ปี ในรัชกาลปัจจุบันโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์ทั้งพระอารามอีกครั้งใน พ.ศ. 2525 เมื่อมีการสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี โดยมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงเป็นองค์ประธานในการบูรณะ

วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นวัดที่สำคัญและเป็นที่เชิดหน้าชูตาของบ้านเมือง ตลอดจนเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศ

พระพุทธรูปสำคัญภายในพระอุโบสถ

พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือพระแก้วมรกต พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นพระพุทธรูปศิลปะเชียงแสนตอนต้น ทำจากหินหยกสีเขียวเข้มทึบแสง ปางสมาธิ ขนาดหน้าตัก 43 ซม. สูง 55 ซม.

พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระพุทธรูปที่รัชกาลที่ 3 ทรงสร้างอุทิศให้กับรัชกาลที่ 1 และ 2 ศิลปะรัตนโกสินทร์ ปางห้ามสมุทร สูง 3 เมตร ทรงเครื่องต้นพระจักรพรรดิราช เป็นพระพุทธรูปสำริดหุ้มทองคำลงยาราชาวดี เครื่องต้นประดับเนาวรัตน์ ใช้ทองคำเท่ากับทองที่หุ้มพระศรีสรรเพชญ ในสมัยอยุธยา

พระสัมพุทธพรรณี รัชกาลที่ 4 ทรงสร้างใน พ.ศ. 2373 ตามอย่างพุทธลักษณะที่พระองค์ทรงสอบสวนได้ สร้างจากกะไหล่ทองคำ ปางสมาธิหน้าตักกว้าง 49 ซม. สูงถึงพระรัศมี 67.5 ซม. มีการเปลี่ยนพระรัศมีเป็นสีต่าง ๆ ตามฤดูกาล พร้อมกับการเปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้วมรกต

พิพิธภัณฑ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

พิพิธภัณฑ์วัดพระศรีรัตนศาสดารามในเขตพระราชฐานชั้นนอกของพระบรมมหาราชวัง เดิมเป็นโรงกษาปณ์ ใช้ผลิตเงินตราเพื่อใช้ในประเทศ สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นอาคารรูปแบบตะวันตก ในปี พ.ศ. 2525 ในวาระการสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี มีการบูรณปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นแม่กองบูรณะจึงขอพระราชทานอาคารโรงกษาปณ์มาเป็นพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้มีสิ่งหน้าสนใจหลายอย่างเช่นปืนใหญ่ที่ตั้งแสดงไว้ด้านหน้าพิพิธภัณฑ์ตุ๊กตาจีนที่ตั้งไว้หน้าอาคารพิพิธภัณฑ์

By http://en.wikipedia.org/wiki/Wat_Phra_Kaew

Wednesday, March 18, 2009

Diving Tour Guide

Basic Etiquette for Scuba Divers

There is the problem of applying anti-fogging compound to the lenses of the diving mask.

1. Saliva is the proper substance and should, as far as possible, avoid involving post-nasal drip. Saliva should be applied in the least noisy manner possible and with as little foreign matter (coffee grinds or other materials normally associated with unbrushed teeth) as possible.
2. The mask should be held in the diver’s own hands, close to his own face, while applying the compound.
3. A diver should only use one of his own hands to evenly spread the anti-fogging compound on the lenses of your mask and rinse that hand over the side before attempting last-minute cheek pinches, pats, squeezes or hugs.
4. Do rinse the mask after spreading the compound.

Since many divers are prone to seasickness, a few guidelines to help carry off bouts of this affliction with decorum are offered:

1. Never eat scratchy stuff. Stick to smooth, pleasant tasting basics that will not ferment or multiply in your stomach.
2. Enduring misery up on deck, in the fresh air, is usually more practical than below deck where the atmosphere may be contaminated with diesel fumes, fish bait or cooking odours.
3. Remember that divers usually get picked up on the leeward side (downwind) of the boat as the skipper normally uses the wind to drift onto the waiting divers. These swimmers would appreciate a warning well in advance.

Medical Consideration

Medical Conditions

There are some medical conditions that may exclude the diver from Scuba Diving, some of these conditions are

- Seasickness
- Asthma
- Diabetes
- Drugs and Medications
- Alcohol
- Cigarettes
- Marijuana
- Menstruating Female
- Pregnancy
- Nervous system disorders
- Some cancers
- Hepatitis
- Malaria

With some, it is the condition itself, and others, it is the drugs that are given for the condition that exclude one from diving. Unfortunately, the medical profession doesn't give black and white answers and some of the conditions require the diver to accept the risk and responsibility for the decision. But, research is being conducted by various agencies around the world all the time and things do change from time to time.

Dive Insurance

It is advised that all divers have their own travel and diving insurance. In the very unlikely event of a problem, treatment for diving accidents can be expensive. The general travel insurance may cover diving, but one should check this before traveling.

When not to dive

A person should not dive when he is:

- Uncertified
- Tired
- Dehydrated
- It is raining (with or without lightning)
- Sick, have sinus congestion, runny nose, fever, etc.
- Have trouble clearing the Eustachian tubes ("equalizing")
- Scuba gear is not working
- Nitrogen level is too high (take a surface interval)
- The water is choppy, rough or visibility is poor
- No buddy to dive with
- Under the influence of drugs or alcohol
- Have preexisting health problems that may present hazards (see the doctor)
- Short of breath, asthmatic or have problems with allergies.

By Wikitravel